Koungwhal Thongnetra

ยินดีต้อนรับทุกท่านสู่คลังปัญญา (ปัญญาคือแสงสว่าง ส่องทางชีวิต )123EE.BLOGSPOT.COM

วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ที่มาการตั้งชื่อพายุ







การตั้งชื่อพายุเป็นภาษาพื้นเมือง


  • การตั้งชื่อพายุเป็นภาษพื้นเมือง เกิดขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา โดยคณะกรรมการไต้ฝุ่น ( Typhoon Committee ) ที่ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกในแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนบน และแถบทะเลจีนใต้ รวม 14 ประเทศ ประกอบด้วย


  1. กัมพูชา
  2. จีน
  3. เกาหลีเหนือ
  4. เกาหลีใต้
  5. ฮ่องกง
  6. ญี่ปุ่น
  7. มาเลเซีย
  8. ไมโครนีเซีย
  9. ฟิลิปปินส์
  10. สหรัฐอเมริกา
  11. เวียตนาม
  12. ไทย เป็นต้น

  • โดยมีการนำชื่อมาเรียงเป็น 5 สดมภ์ เริ่มจากกัมพูชาจนถึงเวียตนามในสดมภ์ที่ 1 เมื่อครบแล้วให้เริ่มสดมภ์ที่ 2 ถึง5 จนครบแล้วจึงเวียนกลับมาที่สดมภ์ที่ 1 อีกครั้งจนกว่าจะมีการกำหนดชื่อพายุใหม่อีกครั้ง

ตัวอย่างรายชื่อพายุที่ตั้งตามภาษาท้องถิ่น

  1. ดอมเรย
  2. กองเรย
  3. นากรี
  4. กรอวาญ
  5. สาริกา
  6. ไคโรจิ
  7. โทราจิ
  8. คัลเมจิ
  9. เมมิ
  10. มิอาริ
  11. ไคตั๊ก
  12. มานหยี
  13. ฟองวอง
  14. ฉอยหวั่น
  15. หมาง้อน  เป็นต้น









ลานเทสะเทือน สายัณห์ สัญญาขับร้อง ผลงานของ ครู วัฒนา พรอนันต์

ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา เอกสารเผยแพร่



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น